Responsive image
เมนูหลัก
หน้าหลัก
เกี่ยวกับตำบล
ประวัติความเป็นมา
สภาพทั่วไป
สภาพสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
การบริการพื้นฐาน
สินค้า OTOP
สถานที่สำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว
เกี่ยวกับเรา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา
โครงสร้างส่วนราชการ
บทบาทหน้าที่
แผนพัฒนาท้องถิ่น
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือการปฏิบัติงาน
จำนวนผู้รับบริการประจำเดือน
แผนการจัดซื้อจัดจ้าง
แผนการป้องกันการทุจริต
บุคลากร
คณะผู้บริหาร
สมาชิกสภา
สำนักงานปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองสวัสดิการสังคม
การบริหารและพัฒนาทรัยากรบุคคล
ประมวลผลจริยธรรมของบุคลากร
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัยากรบุคคลประจำปี
ข่าวสารตำบล
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครโอน/ย้าย
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์
ประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
ITA
ITA ปี พ.ศ. 2563
ข่าวสารเครือข่าย
ข่าวประชาสัมพันธ์เครือข่าย
ข่าวกิจกรรมเครือข่าย
ปฏิทินกิจกรรมเครือข่าย
ข่าวรับสมัครโอน/ย้ายเครือข่าย
สินค้า OTOP เครือข่าย
ระเบียบ
หนังสือสั่งการ สถ.
พรบ./พรก.
กฎระเบียบกระทรวง
คำสั่ง สถ.
มติ ก. อบจ.
มติ ก. เทศบาล
มติ ก. อบต.
ข้อบัญญัติ
รายรับรายจ่าย
รายงานการประชุม
มติคณะรัฐมนตรี
ติดต่อเรา
ติดต่อเรา
แผนที่ดาวเทียม
คู่มือประชาชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ข่าวประชาสัมพันธ์
ความรู้เรื่องโรคมือเท้าปากเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคมือเท้าปากเปื่อย  (Hand foot mouth syndrome)
สาเหตุ
     โรคปากเท้าเปื่อยเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า  Coxsackievirus  โดยต้องประกอบด้วยผื่นที่  มือ  เท้า  และที่ปาก  เริ่มต้นเป็นที่ปาก  เหงือก  เพดาน  ลิ้น  และลามมาที่มือ  เท้า  บริเวณที่พันผ้าอ้อมเช่นกัน  ผื่นจะเป็นลุ่มน้ำใส  มีแผลไม่มากอายุที่เริ่มเป็นคือ  2  สัปดาห์จนถึง  3  ปีผื่นจะหายใน  5-7  วัน
อาการ
     1.  ไข้
     2.  เจ็บคอ
     3.  มีตุ่มที่คอ  ปาก เหงือก  ลิ้น  โดยมากเป็นลุ่มน้ำมากกว่าเป็นแผล
     4.  ปวดศรีษะ
     5.  ผื่นเป็นมากที่มือ  รองลงมาพบที่เท้าที่กันก็พอพบได้
     6.  เบื่ออาหาร
     7.  เด็กจะหงุดหงิด
ระยะฝักตัว
     หมายถึง  ระยะต้้งแต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอาการใช้เวลาประมาณ  4-6  วัน
การติดต่อ
     เชื้อนี้ติดต่อจากการสัมผัสเสมหะ  น้ำลายของผู้ที่ป่วย  หรือน้ำจากผื่นที่มือหรือเท้า  และอุจาระ  ระยะที่แพร่เชื้อประมาณอาทิตย์แรกของการเจ็บป่วยมักจะเป็นในเด็กอายุน้อยกว่า  10  ปี
การวินิจฉัย
     โดยการตรวจร่างกายพบผื่นบริเวณดังกล่าว
การรักษา
     ไม่มีการรักษาเฉพาะโดยมากรักษาตามอาการ
     -  ถ้ามีไข้ให้ยา  Paracetamol  ลดไข้ห้าให้  aspirin
     -  บ้วนปากด้วยน้ำเกลือ
     -  ดื่มน้ำให้พอ
โรคนี้หายเองได้ใน  5-7  วัน
โรคแทรกซ้อน
     ผู้ป่วยส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ  coxsadkievirus  A16  ซึ่งหายเองใน  1  สัปดาห์  แต่หากเกิดจากเชื้อ  enterovirus  71  โรคจะเป็นรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน
     -  อาจจะเกิดชักเนื่องจากไข้สูง  ต้องเช็ดตัวเวลามีไข้และรับประทานยาลดไข้
     -  อาจจะเกิดเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบได้
การป้องกัน
     หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วย
ควรพบแพทย์เมื่อไร
     -  ไข้สูงรับประทานยาลดไข้แล้วไม่ลง
     -  ดื่มน้ำไม่ได้และมีอาการขาดน้ำ  ผิวแห้ง  ปัสสาวะสีเข้ม
     -  เด็กระสับกระส่าย
     -  มีอาการชัก
โพสเมื่อ : 05 มิ.ย. 2562